ค้นหา :
 ปฏิทินกิจกรรม
« พฤศจิกายน 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
      1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
ดูปฏิทินทั้งหมด
หน้าแรก
เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข้อมูลการประชุม
ข้อมูลเผยแพร่
ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสารบ้านเมือง
ข่าววิทยุรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภา
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
รัฐสภาระหว่างประเทศ
ของที่ระลึก
แผนผังเว็บไซต์
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
   
ติดต่อ Call Center
ติดต่อ Call Center
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
ข้อบังคับการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข ๒๕๕๘)
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
คลิกเข้าสู่เว็บไซต์รับฟังความคิดเห็น
คลิกเพื่อรับชมการถ่ายทอดสดฯ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

(เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 57)

Untitled Document
 
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ประธานกรรมาธิการปฏิรูประบบสาธารณสุข และคณะ ร่วมกันแถลงข่าวถึงความเหลื่อมล้ำระว่าง ๓ กองทุนหลักประกันสุขภาพ

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 19 ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558

วันอังคารที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง ชั้นล่าง อาคารรัฐสภา ๑ นางพรพันธุ์  บุณยรัตพันธุ์ ประธานกรรมาธิการปฏิรูประบบสาธารณะสุขพร้อมด้วยคณะร่วมแถลงข่าวเรื่อง ความเหลื่อมล้ำระหว่าง ๓ กองทุน หลักประกันสุขภาพคือค่าใช้จ่ายของกองทุนสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาลของราชการ จากระบบประกันสังคม และจากระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยมีการจ่ายเงินที่ต่างกันคือ ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ถ้าเป็นผู้ป่วยนอกคิดตามปริมาณบริการและราคาที่เรียกเก็บย้อนหลัง สำหรับบริการผู้ป่วยใน เรียกเก็บตามการป่ายในอัตราที่กำหนด สำหรับระบบประกันสังคมจ่ายเงินให้สถานพยาบาลในลักษณะปลายปิดเหมาจ่ายรายหัว สำหรับบริการผู้ป่วยนอกและใน และจ่ายเพิ่มเป็นรายกรณีในผู้ป่วยระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการส่งเสริมป้องกันแก่ผู้ป่วยนอก สำหรับบริการผู้ป่วยในจะจัดสรรยอดรวมตามน้ำหนักสัมพัทธ์ และเป็นการจ่ายเงินในลักษณะปลายปิด ซึ่งการแตกต่างโดยวิธี และอัตราการจ่ายระหว่าง ๓ กองทุน ย่อมมีผลต่อภาระค่าใช้จ่ายของระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นที่มาของความเหลื่อมล้ำ โดยมีผลต่อการให้บริการแก่ประชาชนภายใต้สิทธิหลักประกันสุขภาพต่างๆ  ดังนั้นจึงมีการเรียกร้องให้รวมสามกองทุนไปไว้ในรูปแบบกองทุนเดียวกัน มีการจ่ายโดยวิธีและอัตราเดียวกัน ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการปฏิรูปการเงินการคลังด้านสุขภาพ ได้ติดตามศึกษากรณีดังกล่าวมาโดยตลอด และมีความเห็นว่าการพยายามรวมกองทุนภายใต้การบริหารเดียวกันอย่างเดียว อาจไม่เพียงพอในการที่จะทำให้สุขภาพของประชาชนดีขึ้น แต่จำเป็นต้องมีมาตรการอื่น ๆ ร่วมด้วย ที่สำคัญคือพัฒนาคุณภาพของบริการให้ได้มาตรฐาน โดยเฉพาะการเข้าถึงบริการในเวลาที่เหมาะสมซึ่งจะทำให้การรักษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

download download Download all images download