ค้นหา :
 ปฏิทินกิจกรรม
« พฤศจิกายน 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
      1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
ดูปฏิทินทั้งหมด
หน้าแรก
เกี่ยวกับสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข้อมูลการประชุม
ข้อมูลเผยแพร่
ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวสารบ้านเมือง
ข่าววิทยุรัฐสภา
หอสมุดรัฐสภา
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารราชการ
รัฐสภาระหว่างประเทศ
ของที่ระลึก
แผนผังเว็บไซต์
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
   
ติดต่อ Call Center
ติดต่อ Call Center
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว) ๒๕๕๗
ข้อบังคับการประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติ ๒๕๕๗ (ฉบับแก้ไข ๒๕๕๘)
กฎหมายในกลุ่มอาเซียน
คลิกเข้าสู่เว็บไซต์รับฟังความคิดเห็น
คลิกเพื่อรับชมการถ่ายทอดสดฯ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

(เริ่มนับตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 57)

Untitled Document
 
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
ประธานกรรมาธิการปฏิรูปการเมือง พร้อมด้วยประธานกรรมาธิการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ร่วมกันแถลงข่าว

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 24 ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558

    วันจันทร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๔.๒๐ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง ชั้น ๑ อาคารรัฐสภา ๑
ศาสตราจารย์สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ ประธานกรรมาธิการปฏิรูปการเมือง พร้อมด้วย นายเสรี
สุวรรณภานนท์ ประธานกรรมาธิการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม นายอุดม เฟื่องฟุ้ง
และนายนิรันดร์ พันทรกิจ ร่วมกันแถลงข่าว ภายหลังการประชุมเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญของ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญที่มีประเด็นที่น่าจะเป็นปัญหา ไว้ ๔ ประเด็น ดังนี้
    ๑. ความแล้วเสร็จของร่างรัฐธรรมนูญของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ  เพราะในหน้าของ
คำปรารภยังไม่มีข้อความใดๆ ปรากฏ ทั้งนี้จะถือว่าร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์หรือไม่
หลังจากนี้จะทำหนังสือถึง นายเทียนฉาย กีระนันทน์ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ ให้นำปัญหา
ในประเด็นนี้ส่งคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความว่าร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับนี้สมบูรณ์แล้วหรือไม่
   ๒. ประเด็นของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนั้น
จะทำให้เกิดความซ้ำซ้อนในการใช้อำนาจของการบริหารประเทศ และอาจทำให้เกิดความขัดแย้งได้ในภายหน้า
  ๓. ในเรื่องของที่มาสมาชิกวุฒิสภา ส่วนของคุณสมบัติของผู้มีสิทธิรับเลือกตั้งเป็นวุฒิสมาชิกนั้นห้ามมิให้สังกัด
พรรคการเมือง เห็นว่าขัดแย้งกันเองกับรัฐธรรมนูญ เพราะรัฐธรรมนูญต้องการให้พรรคการเมืองเข้มแข็ง แต่กลับ
สกัดไม่ให้คนดีมีความรู้เข้ามาเป็นสมาชิกพรรคการเมือง
  ๔. ร่างรัฐธรรมนูญ ไม่มีกลไกในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น และยังไม่มีกลไก ที่จะทำให้มีการเลือกตั้งที่ โปร่งใสได้ดีขึ้น ในส่วนของระบบการเลือกตั้งที่เป็นสัดส่วนผสม  
จะไม่มีพรรคใดที่ได้เสียงเกินครึ่ง และจะนำไปสู่รัฐบาลผสมที่อ่อนแอ ไม่มีเอกภาพ
 
download download Download all images download