-- สภาปฏิรูปแห่งชาติสิ้นสุด ณ วันที่ 6 กันยายน 2558 --
 ปฏิทินกิจกรรม
« พฤศจิกายน 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
      1 2
3 4 5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23
24 25 26 27 28 29 30
ดูปฏิทินทั้งหมด
รายงานวาระปฏิรูปที่ผ่านความเห็นชอบของ สปช.
ค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ
ระบบสารสนเทศบริหารงานข้อมูลเพื่อการปฏิรูป
แผนภาพกระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญ
ศูนย์รับฟังความคิดเห็น สภาปฏิรูปแห่งชาติ
สนง.เลขาธิการสภาผู้แทนฯ ปฏิบัติหน้าที่ สนง.เลขาธิการสภาปฏิรูปฯ
เว็บไซต์เพื่อการสื่อสารภายใน สปช.
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเสนอสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อลงมติ
e-Mail@parliament.go.th
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
 
วีดิทัศน์สภาปฏิรูปแห่งชาติ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญรับหนังสือจากตัวแทนกลุ่มเสรีชน Thailand 58

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 27 ๏ฟฝ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558

วันจันทร์ที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ เวลา ๑๑.๐๐ นาฬิกา ณ ห้องโถง ชั้น ๑ อาคารรัฐสภา ๑ นายไพบูลย์ นิติตะวัน กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ รับหนังสือจากนายอัครกฤษ นุ่นจันทร์ ตัวแทนกลุ่มเสรีชน Thailand 58 เพื่อขอให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญทบทวนร่างรัฐธรรมนูญร่างแรกให้เป็นไปตามหลักประชาธิปไตย ซึ่งทางกลุ่มได้ติดตามการอภิปรายของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ตั้งแต่วันที่ ๒๐ เมษายน -๒๖ เมษายน ๒๕๕๘ เห็นว่า ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ แม้เนื้อหาส่วนใหญ่จะเป็นไปเพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในด้านต่างๆ แต่ยังมีสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติหลายท่าน ตั้งข้อสังเกตและปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับรัฐธรรมนูญนี้ โดยเฉพาะภาค ๒ ผู้นำการเมืองและระบบผู้แทนที่ดี ประเด็นที่มาและอำนาจของสมาชิกวุฒิสภา พบว่าไม่ยึดโยงกับประชาชน แม้จะให้ประชาชนมีส่วนในการเลือกตัวแทนจังหวัดละ ๑ คน แต่เมื่อเทียบสัดส่วนของการสรรหาแล้ว สัดส่วนของการสรรหามีมากกว่า และการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเป็นนายกรัฐมนตรี โดยไม่ต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร อาจเป็นการสร้างเงื่อนไขและสร้างความแตกแยกในวันข้างหน้าได้ ประเด็นการจัดตั้งกลุ่มการเมืองเพื่อลงสมัครเลือกตั้งได้นั้น อาจจะเกิดการต่อรองอำนาจกันในสภา และกลุ่มการเมืองจะสร้างปัญหาจนไม่สามารถปรองดองได้ จึงอยากให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ นำข้อเสนอของสปช. และข้อห่วงใยของกลุ่มเสรีชนฯ และภาคประชาชน ปรับแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญที่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาในอดีต สร้างความเข้มแข็งให้กับประชาธิปไตยของไทย มากกว่าการร่างรัฐธรรมนูญเพียงเพื่อตอบสนองความต้องการของคนบางกลุ่มมากกว่าคนไทยส่วนใหญ่ที่เป็นเจ้าของอำนาจสูงสุด

download download Download all images download
สงวนลิขสิทธิ์โดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร Call Center 1743 ถนนอู่ทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทร 0 2244 1000 e-Mail : webmaster@parliament.go.th
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
(เริ่มนับ 2 ต.ค. 57)