|
|
|
ปฏิทินกิจกรรม |
« |
พฤศจิกายน 2567 |
» |
อา. |
จ. |
อ. |
พ. |
พฤ. |
ศ. |
ส. |
| | | | |
1 |
2 |
3 |
4 |
5 |
6 |
7 |
8 |
9 |
10 |
11 |
12 |
13 |
14 |
15 |
16 |
17 |
18 |
19 |
20 |
21 |
22 |
23 |
24 |
25 |
26 |
27 |
28 |
29 |
30 | |
|
|
|
|
|
|
ดูปฏิทินทั้งหมด |
|
|
|
|
|
e-Mail@parliament.go.th |
|
|
|
|
|
วีดิทัศน์สภาปฏิรูปแห่งชาติ |
|
|
|
|
|
|
-
กรอบการดำเนินงานสปช.
|
|
|
|
|
|
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ |
โฆษกกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แถลงข่าวภายหลังการประชุมคณะกรรมาธิการฯ
๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 16 ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558
|
วันจันทร์ที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เวลา ๑๕.๐๐ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง อาคารรัฐสภา ๑ นายคำนูณ สิทธิสมาน โฆษกกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แถลงข่าวถึงความคืบหน้าในการทำงานของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ดังนี้ เรื่องที่หนึ่ง พิจารณาร่างบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญรายมาตราของกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ โดยเริ่มตั้งแต่ ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้างความปรองดอง หมวด ๑ บททั่วไป สรุปผลได้ดังนี้
ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้างความปรองดอง กรรมาธิการเพิ่มขึ้นใหม่
มาตรา (๔/๑/-) ๑ กรรมาธิการเพิ่มขึ้นใหม่
"มาตรา (๔/๑/-) ๑ บทบัญญัติในภาคนี้ก่อให้เกิดหน้าที่แก่รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงาน และพลเมือง ที่ต้องจัดให้มีการปฏิรูปและการสร้างความปรองดองตามหลักการและระยะเวลาที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญนี้
มาตรา (๔/๑/-) ๒ กรรมาธิการเพิ่มขึ้นมาใหม่
"มาตรา (๔/๑/-) ๒ ความในภาคนี้ให้สิ้นผลบังคับในวันถัดจากวันที่รัฐธรรมนูญนี้ใช้บังคับครบห้าปี เว้นแต่พลเมืองผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน รัฐสภา หรือคณะรัฐมนตรีเสนอให้จัดให้มีการออกเสียงประชามติให้บทบัญญัติในภาคนี้คงใช้บังคับอยู่ต่อไป ซึ่งต้องไม่เกินห้าปีนับตั้งแต่วันที่พลเมืองผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยเสียงข้างมากออกเสียงประชามติเห็นชอบ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ"
โดยโฆษกกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้กล่าวเพิ่มเติมว่า คณะกรรมาธิการฯ จะพิจารณาใน ภาค ๔ การปฏิรูปและการสร้างความปรองดอง ให้แล้วเสร็จภายในวันศุกร์ที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘
ทั้งนี้ กำหนดให้มีการนัดประชุมครั้งต่อไป วันอังคารที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๓๐ นาฬิกา |
|
|
สงวนลิขสิทธิ์โดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร Call Center 1743 ถนนอู่ทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร 0 2244 1000 e-Mail : webmaster@parliament.go.th |
|
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์ |
|
(เริ่มนับ 2 ต.ค. 57) |
|
|
|