-- สภาปฏิรูปแห่งชาติสิ้นสุด ณ วันที่ 6 กันยายน 2558 --
 ปฏิทินกิจกรรม
« ตุลาคม 2567 »
อา. จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส.
   1 2 3 4 5
6 7 8 9 10 11 12
13 14 15 16 17 18 19
20 21 22 23 24 25 26
27 28 29 30 31
ดูปฏิทินทั้งหมด
รายงานวาระปฏิรูปที่ผ่านความเห็นชอบของ สปช.
ค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ
ระบบสารสนเทศบริหารงานข้อมูลเพื่อการปฏิรูป
แผนภาพกระบวนการจัดทำรัฐธรรมนูญ
ศูนย์รับฟังความคิดเห็น สภาปฏิรูปแห่งชาติ
สนง.เลขาธิการสภาผู้แทนฯ ปฏิบัติหน้าที่ สนง.เลขาธิการสภาปฏิรูปฯ
เว็บไซต์เพื่อการสื่อสารภายใน สปช.
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเสนอสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อลงมติ
e-Mail@parliament.go.th
ชื่อเข้าใช้ :
รหัสผ่าน :  
 
วีดิทัศน์สภาปฏิรูปแห่งชาติ


  • ขอเชิญผู้สนใจส่งประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า    download_icon

  • สารานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนฯ    download_icon

  • โครงการยกย่องเยาวชนต้นแบบเฉลิมพระเกียรติฯ    download_icon

  • กรอบการดำเนินงานสปช.    download_icon

 แสดงทั้งหมด...
ห้องข่าว >> ภาพข่าว >> ภาพข่าวสภาปฏิรูปแห่งชาติ
นายประสาร มฤคพิทักษ์ สมาชิกสปช. แถลงข่าว

๏ฟฝัน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ 31 ๏ฟฝ.๏ฟฝ. 2558

วันจันทร์ที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๑.๔๕ นาฬิกา ณ บริเวณห้องโถง อาคารรัฐสภา ๑ นายประสาร มฤคพิทักษ์ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ แถลงข่าวถึงประเด็นการวิพากษ์กันมากว่าคณะกรรมการยุทธศาสตร์การปฏิรูปและการปรองดองแห่งชาติ (ค.ป.ป.) เป็นการสืบทอดอำนาจ เป็นอำนาจรัฐซ้อนรัฐ หรือเป็นใบสั่ง คสช. โดยตนมีความเห็นว่า ไม่ใช่เป็นใบสั่งของคสช. แต่เป็นใบสั่งของของสถานการณ์จำเพาะในระยะเปลี่ยนผ่าน เป็นการเริ่มต้นจากความเป็นจริงของประเทศไทยที่ไม่เหมือนประเทศใดในโลก ก่อนการยึดอำนาจ ๒๒ พ.ค.๕๗ ไม่ใช่อำนาจรัฐซ้อนรัฐ แต่เป็นนักโทษหนีอาญาแผ่นดินคนเดียวที่มีอำนาจเหนือรัฐ บทบัญญัติ ค.ป.ป. นี้เริ่มต้นจากความเป็นจริงที่ประเทศไทยเข้าสู่มุมอับซึ่งการเมืองในสภาวะปกติเป็นอัมพาต ทำให้ประชามหาชนแสดงถึงเจตจำนงทางการเมือง ครั้งประวัติศาสตร์ว่าการเมืองเก่าเป็นกองขยะที่ต้องล้างทิ้ง เดินหน้าไปไม่ได้แล้ว ต้องเปลี่ยนต้องปฏิรูปอย่างทั่วด้าน ไม่เปลี่ยนไม่ได้ ปัญหาคือพรรคการเมืองไทยนั้น นอกจากเล่นเกมอำนาจ แบ่งปันผลประโยชน์ ทำให้ประชานิบมแบบล้นเกิน อย่างไม่รับผิดชอบ ในวันนี้ผลงานการปฏิรูปประเทศไทยอย่างทั่วด้านของสปช. รวม ๓๗ วาระ ส่งมอบให้นายกรัฐมนตรีไปแล้ว นายกรัฐมนตรีแสดงความพึงพอใจ และกรุณารับไปขยายต่อให้เป็นจริง ซึ่งรัฐธรรมนูญและกฎหมายลูกมีบทบัญญัติรองรับไว้แล้ว เพื่อตอบสนองเจตจำนงของประชาชนที่ไม่ต้องการคืนกลับไปสู่การเมืองแบบเดิมอีกต่อไป

download download Download all images download
สงวนลิขสิทธิ์โดย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร Call Center 1743 ถนนอู่ทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
โทร 0 2244 1000 e-Mail : webmaster@parliament.go.th
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
(เริ่มนับ 2 ต.ค. 57)